วันอาทิตย์ที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2559

ประวัติผู้แต่ง อิเหนา
ผู้ทรงพระราชนิพนธ์ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (ร.๒)
พระราชประวัติ
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (ร.๑) ทรงพระราชสมภพ พ.ศ. ๒๓๑๐ ได้โดยเสด็จพระบรมชนกนาถไปในกองทัพตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ ได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จเจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทรและกรมพระราชวังบวรสถานมงคลตามลำดับ ทครงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจฟื้นฟูบูรณะประเทศสืบต่อจากพระบรมชนก มีพระอัจฉริยะพิเศษ ทางศิลปะ ประติมากรรม สถาปัตยกรรม วรรณคดี อ่านเพิ่มเติม 
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ประวัติผู้แต่ง อิเหนา
โคลง4สุภาพ
เป็นโคลงชนิดหนึ่งที่กวีนิยมแต่งมากที่สุด ด้วยเสน่ห์ของการบังคับวรรณยุกต์เอกโทอันเป็นมรดกของภาษาไทยที่ลงตัวที่สุด คำว่า สุภาพ หรือ เสาวภาพ หมายถึงคำที่มิได้มีรูปวรรณยุกต์[ต้องการอ้างอิง]
โคลงสี่สุภาพ ปรากฏในวรรณกรรมไทย ตั้งแต่สมัยต้นอยุธยา ปรากฏในมหาชาติคำหลวงเป็นเรื่องแรก[1] และมีวรรณกรรมที่แต่งด้วยโคลงสี่สุภาพ 3 เรื่อง ได้แก่ โคลงนิราศหริภุญชัย โคลงมังทราตีเชียงใหม่ และลิลิตพระลอ อ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ โคลง4สุภาพ
นิราศนรินทร์
  นิราศนรินทร์ เป็นวรรณคดีในยุครัตนโกสินทร์ตอนต้น ประเภทนิราศ ที่จัดว่าแต่งได้ดี โดยกระทรวงศึกษาธิการได้คัดมาให้นักเรียนได้ศึกษากันในชั้นเรียน และมีบทโคลงที่ใช้เป็นแบบแผนของโคลงสี่สุภาพด้วย อ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ นิราศนริน
นิทานเวตาล
เวตาลปัญจวิงศติ แปลว่า นิทานเวตาล 25 เรื่อง) เป็นวรรณกรรมสันสกฤตโบราณ ซึ่งเล่าขานโดยกวีชื่อ ศิวทาส และได้ถูกเล่าขานกันต่อมากว่า 2,500 ปีล่วงมาแล้ว โครงเรื่องหลักของนิทานเรื่องนี้เป็นเรื่องการโต้ตอบตอบปัญหาระหว่างพระวิกรมาทิตย์ กษัตริย์แห่งกรุงอุชชิยนี กับเวตาล ปีศาจที่มีร่างกายกึ่งมนุษย์กับค้างคาว ซึ่งจะนำเข้าไปสู่นิทานย่อยต่างๆ ที่แทรกอยู่ในเรื่องนี้รวม 25 เรื่อง ลักษณะดังกล่าวคล้ายกับนิทานอาหรับราตรี หรือ "พันหนึ่งราตรี" ซึ่งเป็นนิทานชุดในซีกโลกอาหรับที่ได้รับความนิยมอย่างมากอีกชุดหนึ่ง อ่านพิ่มเติม

Vetala's Stories cover.png
อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง
อิเหนา เป็นวรรณคดีที่ได้รับการยกย่องของบทละครลำ เพราะเป็นหนังสือซึ่งแต่งดีทั้งกลอน ทั้งความ และทั้งกระบวนการที่ตะเล่นละครประกอบการ และยังเป็นหนังสือที่ดี ในทางที่ตะศึกษาประเพณีไทยสมัยโบราณ  แม้บทละครเรื่องอิเหนาจะมีเค้าโครงมาจากนิทานพื้นเมืองของชาวชวา  เอกสารที่เกี่ยวข้องมีดังนี้)อ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง